Taboo Monument
Taboo Monument เป็นเคมเปญเพื่อตั้งคำถามต่อการตั้งอยู่ของจัตุรัสภูมิพลอดุลยเดชฯ และอนุสาวรีย์ในเมืองเคมบริดจ์ แมสซาชูเซตส์ ซึ่งอุทิศให้กับกษัตริย์รัชกาลที่ 9 ของไทยที่กดทบประชาธิปไตยและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์มากว่า 70 ปี
ใครคือผู้สมควรได้รับการอุทิศให้ถูกใช้ชื่อเป็นอนุสาวรีย์และจตุรัสบนผืนแผ่นดินสหรัฐ? มันสมควรแล้วหรือที่จะอุทิศให้กับคนที่สนับสนุนการรัฐประหารริดรอนประชาธิปไตยนับครั้งไม่ถ้วน? มันสมควรแล้วหรือที่อุทิศให้กับคนที่สนับสนุนกลุ่มหัวรุนแรงฝ่ายขวาที่สังหารและรุมโทรมเหยื่อหลายร้อยคน? สมควรแล้วหรือที่จะอุทิศให้กับคนที่กดขี่เสรีภาพในการพูด? บุคคลคนนั้นได้ยืนหยัดในอุดมคติที่ชาวอเมริกันเชื่อจริง ๆ หรือ?
จัตุรัสและอนุสรสถานตั้งอยู่ที่หัวมุมถนน Eliot และ ถนน Bennett ในเมืองเคมบริดจ์ มลรัฐแมสซาชูเซตส์
จัตุรัสแห่งนี้ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2533 โดยเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ พระราชธิดาพระองค์เล็กของกษัตริย์ภูมิพลฯ เพื่อรำลึกถึงการประสูติของพระราชบิดา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 จากนั้นเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เป็นตัวแทนกษัตริย์ภูมิพลฯ เปิดเผยหมุดโลหะที่ติดตั้ง ณ จัตุรัสแห่งนี้
ในปี พ.ศ. 2546 ชาวไทยผู้อาศัยอยู่ในประเทศอเมริกากลุ่มหนึ่งเป็นที่รู้จักในนามมูลนิธิสถานที่พระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (KTBF) และเมืองเคมบริดจ์ได้ปรับปรุงจัตุรัสใหม่ โดยพวกเขาได้ติดตั้งอนุสถานที่สร้างใหม่ด้วยคอนกรีตและหิน รวมถึงได้ย้ายแผ่นหมุดโลหะจารึกไว้บนนั้น ซึ่งพวกเขาอ้างว่าเพื่อทำให้หมุดดังกล่าวสามารถมองเห็นได้ชัดเจนขึ้น ทั้งนี้ยังกล่าวอีกว่าอนุสถานนี้เป็นของขวัญในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 76 พรรษาของกษัตริย์ภูมิพลฯ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2546
ในการให้สัมภาษณ์ชลธนี รอดแก้ว ประธานและผู้ก่อตั้งมูลนิธินี้ ได้ให้เหตุผลที่น่าสนใจว่า ในการริเริ่มโครงการนี้ เธอไม่ต้องการเห็นจักรยานของชาวต่างชาติไปจอด และวางแขวนติดอยู่ที่ป้ายของจัตุรัสภูมิพลฯ ซึ่งเธอเชื่อว่าเป็นการกระทำที่ไม่เคารพต่อในหลวง ดังนั้นเธอจึงตั้งใจจะปรับปรุงอนุสาวรีย์ให้อยู่ในสภาพที่ "มีเกียรติ" มากขึ้น
พระองค์อาจเป็นที่รู้จักว่าเป็นพระมหากษัตริย์อันเป็นที่รักยิ่งของคนไทย หรือมีพระราชดำริหลายพันโครงการเพื่อพัฒนาสังคมไทย แต่ในความเป็นจริง เขาได้ใช้อำนาจของเขาเพื่อทำให้ตัวเขาเองเป็นกษัตริย์ที่ร่ำรวยที่สุดในโลก ในขณะที่คนไทยถูกห้ามไม่ให้ตั้งคำถามหรือวิพากษ์วิจารณ์กษัตริย์ หรือราชวงศ์ มิฉะนั้นอาจถูกพิพากษาจำคุกถึง 15 ปีต่อความผิด
อำนาจและอิทธิพลของกษัตริย์ภูมิพลฯ นั้นถูกตอกย้ำผ่านความพยายามในการโฆษณาชวนเชื่ออย่างกว้างขวาง มีการบังคับให้ประดับพระบรมฉายาลักษณ์ตามอาคารสาธารณะ โรงเรียน หรือแม้แต่บ้านเรือนในประเทศไทย มีการปลูกฝังความเคารพในสถาบันพระมหากษัตริย์ผ่านระบบการศึกษาของรัฐ และทุกเย็นช่องโทรทัศน์ทุกช่องจะออกอากาศรายการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อยกย่องราชวงศ์
ในโฆษณาชวนเชื่อกล่าวว่า กษัตริย์ภูมิพลฯ ทรงทำงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยเพื่อพัฒนาประเทศไทยและได้นำเสถียรภาพมาสู่ระบบการเมืองหลายต่อหลายครั้ง แต่ในความเป็นจริง กลับไม่ได้เป็นแบบนั้นเลย โครงการ "พัฒนา" มากมายของกษัตริย์ภูมิพลฯ เป็นแค่การโฆษณาซึ่งส่วนใหญ่ได้รับทุนจากเงินภาษีและไม่เคยได้รับการตรวจสอบว่ามีประสิทธิภาพหรือต้องรับผิดชอบทางการเงินเลย ในทำนองเดียวกัน ภูมิพลมักจะเข้าแทรกแซงเพื่อสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มที่มีอำนาจ โดยเฉพาะกองทัพ แทนที่จะสร้างความปรองดองในสังคมไทย
In 1976, for example, he supported right-wing militias who murdered hundreds of students demonstrating in Bangkok. This is the infamous ‘6 October Massacre’, an event Thailand’s rulers have long tried to conceal from history. King Bhumibol played a crucial role in bringing about this massacre and returning Thailand to military rule.
The royal family, particularly the crown prince, gave explicit support to the police and right-wing groups inciting violence. In the end, none of the massacre’s perpetrators were held accountable, while more than three thousand innocent students and civilian survivors were detained.
Since the beginning of his reign in 1946, Bhumibol has endorsed 11 military coups. These coups denied Thais the right to elect their leaders democratically and allowed military regimes to oppress the people.
Besides endorsing the coups, King Bhumibol also appointed most generals involved in the coups to be privy councilors (King's official advisors). He granted them public favors and made it clear the generals were doing their will.
Since 1957, lèse majesté law (which prohibits defaming or insulting the monarch) has been used as a political weapon to criminalize and punish political opponents in Thailand. After 1976, King Bhumibol heavily enforced the lèse-majesté law, which punishes anyone who criticized him and his family with 3-15 years of imprisonment per offense. Throughout his reign, over 1,000 were punished by this law, with the longest sentence being 87 years.
Some victims are still in prison, some had to flee the country, some were abducted, and others were murdered. Many lèse majesté cases were not publicly revealed because domestic and international media must routinely self-censor their reporting or risk prosecution.
This monument is not only a symbol of oppression but also a tool for suppressing free speech in Cambridge today.
On November 1, 2020, Thais and Thai Americans gathered in King Bhumibol Square to protest the use of violence against protesters in Thailand. At the time, rubber bullets, tear gas, and military units were being deployed against peaceful protesters in Bangkok.
However, a group of ultra-royalist Thai Americans attempted to silence the demonstrators by shouting over their speeches and heckling. Afterward, several demonstrators received blackmail texts, threatening to expose their undocumented status and reporting their protest to the Royal Thai Consulate in New York. As demonstrated at the king’s monument, the second threat is potentially very dangerous and could be interpreted as a crime of lèse majesté in Thai law.
This is a blatant infringement on the rights to free speech and assembly. King Bhumibol Square and its monument are being used by extremist Thais to violate First Amendment rights on American soil.
This monument honors a person who opposed democracy, who supported military rule, and who jailed his critics. King Bhumibol does ot stand for any of the ideals Americans believe in.
We hope that one day, the City of Cambridge will get rid of this stain on American democracy.
We are currently working hard to brainstorm and listen to all ideas to find our next step, so please feel free to share your opinions via email. Also, we will keep you posted if there is any update on our next step.
Meanwhile, we encourage you to learn more about this person from the book The King Never Smiles: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej, written by Paul M. Handley, published by Yale University, which banned by Thai authorities.